หัวข้อ: การออกแบบคาน เริ่มหัวข้อโดย: civil030 ที่ พฤษภาคม 10, 2010, 06:22:48 PM คือว่า ออกแบบเป็นคานช่วงเดียวหรือเป็นแบบ คานต่อเนื่องดีกว่ากันครับ สมมุติว่า ถ้าเราออกแบบเป็นช่วงเดียว จะมีแต่เหล็กเสริมล่างใช่ไหมครับ
แล้วทีนี้ ตรงหัวเสาที่ไม่มีเหล็กเสริม มันจะแครกหรือป่าวครับ คือมันไม่พังแน่ๆ แต่จะมีรอยแครกหรือป่าวครับ หัวข้อ: ตอบ: การออกแบบคาน เริ่มหัวข้อโดย: USS Submarine ที่ พฤษภาคม 10, 2010, 10:08:44 PM ถึงแม้ตามรายการคำนวณที่เราคำนวณได้ มีเฉพาะเหล็กเสริมรับแรงดึง แต่เวลาทำงานจริงมันก็ต้องใส่เหล็กเสริมรับแรงอัดอยู่ดีครับ (ถ้าไม่ใส่จะวางและยึดเหล็กปลอกยากครับ) ส่วนเรื่องรอยแคร็กนั้นผมก็ตอบไม่ได้ครับว่ามันจะมีหรือไม่ แต่เราก็สามารถคำนวณพิกัดแตกร้าวเพื่อตรวจสอบได้ครับ ::13::
หัวข้อ: ตอบ: การออกแบบคาน เริ่มหัวข้อโดย: Kaiserz ที่ พฤษภาคม 11, 2010, 07:05:10 PM ถ้าคิดเป็น Simple หมด ตามทฤษฎีแล้วโครงสร้างจะไม่เสถียรครับเนื่องจาก บ้านส่วนใหญ่ด้านล่างจะเป็นเข็มเดี่ยว support เป็น pin
ลองโมเดลดูนะครับ frame ซัก 2 ชั้น support เป็น pin มี hinge ที่ขอบคานบริเวณเสาทั้งหมด มันจะไม่ stable ครับมีแรงด้านข้างมาผลักนิดเดียวล้มครับ หัวข้อ: ตอบ: การออกแบบคาน เริ่มหัวข้อโดย: Suriya ที่ พฤษภาคม 14, 2010, 12:07:56 PM ::8::ขอบคุณครับ
หัวข้อ: ตอบ: การออกแบบคาน เริ่มหัวข้อโดย: atta_dome ที่ พฤษภาคม 30, 2010, 03:08:43 AM 1. ถึงออกแบบเป็น simple beam แต่ก็ต้องใส่เหล็กบนอยู่ดีในทางปฎิับัติ
2. จากคำถามที่ว่าคานจะร้าวหรือไม่ที่หัวเสา เหล็กเสริมบนที่ใส่ไว้เมื่อไม่เพียงพอต่อโมเมนต์ลบที่เกิดขึ้นจากพฤติกรรมแบบต่อเนื่อง คานอาจแตกร้าวให้เห็นได้ แต่ก็ไ่ม่ถึงกับพังลงมา การแตกร้าวที่เ้กิดขึ้นจะเป็นการปลดปล่อยให้เหล็กเสริมล่างรับโมเมนต์บวกได้ตามที่ออกแบบไว้เป็นแบบ simple beam 3. ในความเห็นผม การออกแบบเป็นคานต่อเนื่องมีข้อดีกว่า คือทำให้โครงสร้างมีขนาดเล็กลงได้ หรือใส่เหล็กล่างน้อยลงได้แต่ก็ต้องคำนวณเหล็กบนด้วย หัวข้อ: ตอบ: การออกแบบคาน เริ่มหัวข้อโดย: chanchai r. ที่ กันยายน 02, 2013, 04:31:10 PM แต่ถ้าออกแบบเป็นคานต่อเนื่อง เสาจะรับ Unbalance Moment ที่ถ่ายมาจาก M-จากคาน ทำให้เสาต้องใหญ่ขึ้นและมีเหล็กเสริมมากขึ้นน่ะครับ
หัวข้อ: ตอบ: การออกแบบคาน เริ่มหัวข้อโดย: civil2181 ที่ พฤศจิกายน 16, 2013, 03:36:49 PM ไม่น่าจะพังได้ครับ
4.1 หลักการออกแบบคานคอนกรีตเสริมเหล็ก การออกแบบคานมีความจา ป็นอย่างยิ่งที่ผูอ้อกแบบตอ้งพิจารณาตา แหน่งที่คานอยู่ว่ามีผนัง คานฝาก บนั ไดและพ้ืนที่มีส่วนเกี่ยวขอ้งคานให้ละเอียดครบทุกตวัหลงัจากน้นั ตอ้งถ่ายน้า หนักของ โครงสร้างดังกล่าวลงบนคานเพื่อน าไปวิเคราะห์หาค่าต่างๆเช่น ค่าของโมเมนต์ดดั แรงเฉือนและ แรงบิด เป็นต้นแล้วนา ค่าที่ได้ไปหาขนาดหน้าตดัของคานและเหล็กเสริมในคานต่อไปโดยเฉพาะ ขอ้กา หนดต่างๆที่ใช้ในการออกแบบ พฤติกรรมของโครงสร้างคานเมื่อมีน้า หนกักระทา ลักษณะการ ถ่ายน้า หนกัพ้ืนลงคาน แรงเฉือนในคานและการเสริมเหล็กต้านทานให้ถูกต้องได้มาตรฐานดงัต่อไปน้ี 4.1.1ขอ้กา หนดทวั่ ไป มาตรฐาน วสท.1007-34 4.1.1.1 กา หนดความลึกของคานข้นั ต่า ไวด้งัน้ีคือ 1) สา หรับคานช่วงเดียว = L/16 2) สา หรับคานต่อเนื่องสองช่วง = L/18.5 3) สา หรับคานต่อเนื่องสามช่วง = L/21 4) ส าหรับคานยื่น = L/8 4.1.1.2 ประมาณหนา้ตดัคานจากความกวา้งต่อความลึกของคาน1:2,1:3 เช่น คาน ขนาด 0.20x0.40 ม. 4.1.1.3 ประมาณความลึกของคานจากความยาวของคาน 1:10 เช่น ความยาว 4.00 ม. เท่ากบั 4.00 หารด้วย 10 ก็จะไดค้วามลึก 40 ซม. 4 COPY มาครับ |